บันทึกอนุทิน
วิชา EAED 4215 Learning Experiences Management in Early Childhood
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี วันที่ 21 เดือนมีนาคม พ.ศ.2559
ครั้งที่ 11 เวลาเรียน 14.30 น.
Knowledge
อาจารย์ตรวจแผยการสอนของทุกกลุ่ม แล้วให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มออกมาสอนกิจกรรมเสรอมประสบการณ์ และกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
-หน่วยส้ม (ลักษณะของส้ม)
-หน่วยผีเสื้อ (ชนิดของผีเสื้อ)
-หน่วยยานพาหนะ (ประเภทของยานพาหนะ)
-หน่วยกล้วย (ชนิดของกล้วย)
-หน่วยเห็ด (ชนิดของเห็ด)
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
-หน่วยส้ม (เคลื่อนไหวโดนใช้คำสั่ง)
-หน่วยผีเสื้อ (เคลื่อนไหวประกอบเพลง)
-หน่วยผัก (เคลื่อนไหวแบบผู้นำผู้ตาม)
-หน่วยยานพาหนะ (เคลื่อนไหวตามคำบรรยาย)
-หน่วยกล้วย (เคลื่อนไหวตามคำบรรยาย)
-หน่วยเห็ด (เคลื่อนไหวตามคำบรรยาย)
กลุ่มที่1 หน่วยส้ม
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
คำแนะนำ/ข้อเสนอแนะ
-การเขียนแผนการสอนไม่ควรใช้ดินสอเขีบย
-วิธีการเรียนรู้ได้ดีของเด็ก คือ การสังเกต การสัมผัส
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
-สอนไม่ตรงตามแผนที่เขียนมา
-ปรับปรุงเรื่องการเคาะจังหวะ
-พูดขัดข้อง
กลุ่มที่2 หน่วยผีเสื้อ
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
ตำแนะนำ/ข้อเสนอแนะ
-คำว่าผีเสื้อควารใช้ปากกาสีอื่น เพื่อเด้กได้เห็นความแตกต่าง
-การติดรูปต้องติดทางซ้ายมือของเด็ก ไปทางขวามือของเด็ก
-ครูต้องถามเด็กว่าผีเสื้อกลุ่มไหนมากกว่ากัน จากนั้นให้เด็กจับคู้ 1/1
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
-ไม่ต้องมีแผ่นชาร์ทเพลง
-ครูต้องร้องเพลงพร้อมกับเด็กพรื้อกำกับจังหวะ
กิจกรรมผ่อนคลายกล้ามเนื้อไม่ควรใช้เวลานาน
กลุ่มที่3 หน่วยผัก
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
คำแนะนำ/ข้อเสนอแนะ
-การเขียนประเภทของผัก ต้องเขียน ผักกินใบ กินหัว เป็นต้น
-ต้องทำตารางเปรียบเทียบให้ชัดเจน
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
-ไท่ต้องมีแผ่นชาร์ทเพลง เพราะเคลื่อนไหวเน้นร่างกาย
-ควารให้เด็กมีการเปลี่ยนทิศทาง เปลี่ยนจากการเดินเป็นการใช้ส้นเท้า
กลุ่มที่4 หน่วยยานพาหนะ
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
คำแนะนำ/ข้อเสนอแนะ
-ใช้เกณฑ์ให้ชัดเจนในการแบ่งประเภทของยานพาหนะ
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
-เคาะจังหวะให้ชัดเจน
-ครูต้องเคาะจังหวะหยนุดให้เด้กด้วย
กลุ่มที่5 หน่วยกล้วย
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
-คำแนะนำ/ข้อเสนอแนะ
-แผ่นชาร์?ไม่ควรใช้สีสะท้อนแสง
-การนับจำนวนกล้วย ควรนำมาเป็นลูก ไม่ควรนำมาเป็นหวี เพราะจะทำให้เด็กไมาสามารถนับได้
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
-ครูควรเคาะจังหวะหยุด เมื่อต้องการให่เด้กหยุดเคลื่อนไหว
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น